ประชาสัมพันธ์/กิจกรรม

Image โครงการ Research for Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ครั้งที่ 10
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์(การทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง) การตรวจธาตุอาหารในดินเบื้องต้น และการผลิตก๊าซชีวภาพเป็นแหล่งพลังงานทดแทนสำหรับครัวเรือนให้กับประชาชนตำบลหนองปลิง อำเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 4 สิงหาคม 2560 เวลา 09.00 น. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้ดำเนินกิจกรรมโครงการ Research For Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ในกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ โดย ผศ.ดร.นงนุช สังข์อยุทธ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์ และกิจกรรม “ การผลิตก๊าซชีวภาพเป็นแหล่งพลังงานทดแทนสำหรับครัวเรือนในชุมชน “ โดย ดร.วีรวุฒิ ชัยวัฒน์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศกรรมและการจัดการภัยพิบัติ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ โดยเนื้อหาการอบรมจะมุ่งเน้นเชิงปฎิบัติการเทคโนโลยี เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้กลับไปปฎิบัติได้ทุกขั้นตอน รวมทั้ง การให้ความรู้ในการตรวจวิเคราะห์ดินเบื้องต้น ซึ่งประชาชนนำดินมาตรวจวิเคราะห์ เพื่อทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ และปัญหาของดินในแปลงปลูกพืช โดยมีวิทยากรคอยให้คำปรึกษา คำแนะนำ ในการแก้ไขปรับปรุงบำรุงดิน เช่น การใช้ปุ๋ย การใช้ปูน ปรับปรุงดินกรด รวมทั้งการใช้วัสดุหรือสารปรับปรุงดินอย่างอื่น ตามความจำเป็นเพื่อให้การปลูกพืชได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น และมีคุณภาพดีขึ้น กิจกรรมดังกล่าว มีคณาจารย์ พร้อมด้วยบุคลากรงานบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ร่วมให้บริการวิชาการ ถ่ายทอด องค์ความรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนพร้อมผลักดันให้เกิดการสร้างเครือข่ายการบริการวิชาการแก่ชุมชน อันนำไปสู่การบูรณาการองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักวิชาการอย่างยั่งยืน
Image อบรมการตรวจวิเคราะห์ดิน และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ครั้งที่ 9 บ้านหินดาด
มหมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์(การทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง)และการตรวจธาตุอาหารในดินเบื้องต้น ให้กับประชาชนบ้านหินดาด ตำบลศรีมงคล อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 3 สิงหาคม 2560 เวลา 09.00 น. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้ดำเนินกิจกรรมโครงการ Research For Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ในกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ โดย ผศ.ดร.นงนุช สังข์อยุทธ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ การจัดกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ โดยเนื้อหาการอบรมจะมุ่งเน้นเชิงปฎิบัติการ การทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้กลับไปปฎิบัติได้ทุกขั้นตอน รวมทั้ง การให้ความรู้ในการตรวจวิเคราะห์ดินเบื้องต้น ซึ่งประชาชนนำดินมาตรวจวิเคราะห์ เพื่อทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ และปัญหาของดินในแปลงปลูกพืช โดยมีวิทยากรคอยให้คำปรึกษา คำแนะนำ ในการแก้ไขปรับปรุงบำรุงดิน เช่น การใช้ปุ๋ย การใช้ปูน ปรับปรุงดินกรด รวมทั้งการใช้วัสดุหรือสารปรับปรุงดินอย่างอื่น ตามความจำเป็นเพื่อให้การปลูกพืชได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น และมีคุณภาพดีขึ้น กิจกรรมดังกล่าว มีคณาจารย์ พร้อมด้วยบุคลากรงานบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ร่วมให้บริการวิชาการ ถ่ายทอด องค์ความรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนพร้อมผลักดันให้เกิดการสร้างเครือข่ายการบริการวิชาการแก่ชุมชน อันนำไปสู่การบูรณาการองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักวิชาการอย่างยั่งยืน
Image อบรมการตรวจวิเคราะห์ดิน และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ครั้งที่ 8 บ้านท่ามะเดือ
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์(การทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง)และการตรวจธาตุอาหารในดินเบื้องต้น ให้กับประชาชนตำบลศรีมงคล อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 26 พฤษภาคม 2560 เวลา 09.00 น. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้ดำเนินกิจกรรมโครงการ Research For Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ในกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ โดย ผศ.ดร.นงนุช สังข์อยุทธ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ การจัดกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ ได้รับเกียรติจากนายกองค์การบริหารส่วนตำบลศรีมงคล ศูนย์พัฒนาชนบทเกษตรผสมผสานไทรโยค กล่าวต้อนรับและแสดงความชื่นชมยินดีในความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล กับชุมชน ที่จะร่วมมือกันแก้ไขปัญญาให้กับชุมชน โดยเนื้อหาการอบรมจะมุ่งเน้นเชิงปฎิบัติการ การทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้กลับไปปฎิบัติได้ทุกขั้นตอน รวมทั้ง การให้ความรู้ในการตรวจวิเคราะห์ดินเบื้องต้น ซึ่งประชาชนนำดินมาตรวจวิเคราะห์ เพื่อทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ และปัญหาของดินในแปลงปลูกพืช โดยมีวิทยากรคอยให้คำปรึกษา คำแนะนำ ในการแก้ไขปรับปรุงบำรุงดิน เช่น การใช้ปุ๋ย การใช้ปูน ปรับปรุงดินกรด รวมทั้งการใช้วัสดุหรือสารปรับปรุงดินอย่างอื่น ตามความจำเป็นเพื่อให้การปลูกพืชได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น และมีคุณภาพดีขึ้น กิจกรรมดังกล่าว มีคณาจารย์ พร้อมด้วยบุคลากรงานบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ร่วมให้บริการวิชาการ ถ่ายทอด องค์ความรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนพร้อมผลักดันให้เกิดการสร้างเครือข่ายการบริการวิชาการแก่ชุมชน อันนำไปสู่การบูรณาการองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักวิชาการอย่างยั่งยืน
Image อบรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการวางแผนการผลิตและการแปรรูปเพื่อเพิ่มมูลค่า
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์(การทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง)และการตรวจธาตุอาหารในดินเบื้องต้น ให้กับประชาชนตำบลหนองไผ่ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา09.00 น. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้ดำเนินกิจกรรมโครงการ Research For Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ในกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ โดย ผศ.ดร.นงนุช สังข์อยุทธ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ การจัดกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ ได้รับเกียรติจากผู้ใหญ่ และ กำนัน กล่าวต้อนรับและแสดงความชื่นชมยินดีในความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล กับชุมชน ที่จะร่วมมือกันแก้ไขปัญญาให้กับชุมชน โดยเนื้อหาการอบรมจะมุ่งเน้นเชิงปฎิบัติการ การทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้กลับไปปฎิบัติได้ทุกขั้นตอน รวมทั้ง การให้ความรู้ในการตรวจวิเคราะห์ดินเบื้องต้น ซึ่งประชาชนนำดินมาตรวจวิเคราะห์ เพื่อทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ และปัญหาของดินในแปลงปลูกพืช โดยมีวิทยากรคอยให้คำปรึกษา คำแนะนำ ในการแก้ไขปรับปรุงบำรุงดิน เช่น การใช้ปุ๋ย การใช้ปูน ปรับปรุงดินกรด รวมทั้งการใช้วัสดุหรือสารปรับปรุงดินอย่างอื่น ตามความจำเป็นเพื่อให้การปลูกพืชได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น และมีคุณภาพดีขึ้น กิจกรรมดังกล่าว มีคณาจารย์ และบุคลากรงานบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ร่วมให้บริการวิชาการ ถ่ายทอด องค์ความรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนพร้อมผลักดันให้เกิดการสร้างเครือข่ายการบริการวิชาการแก่ชุมชน อันนำไปสู่การบูรณาการองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักวิชาการอย่างยั่งยืน
Image โครงการจังหวัดเคลื่อนที่และคลินิกมหาดไทย ครั้งที่ 10
วันที่ 26 กรกฎาคม 2560 มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี โดยคลินิคเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ออกหน่วยเคลื่อนที่ให้บริการประชาชน ร่วมกับจังหวัดในโครงการจังหวัดเคลื่อนที่และคลินิกมหาดไทย ซึ่งการเข้าร่วมออกหน่วยเคลื่อนที่ในครั้งนี้ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี โดยทีมงานคลินิคเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหิดล ได้มีการสัมภาษณ์และสอบถามถึงปัญหาและความเดือดร้อน รวมทั้งความต้องการของพี่น้องประชาชนในพื้นที่ รวมทั้ง ได้นำปุ๋ยอินทรีย์จากโครงการผลิตปุ๋ยอินทรีย์นวัตกรรมใหม่คาร์บอนต่ำแบบไม่กลับกอง พร้อม วิธีการผลิต มาแจกจ่ายและเผยแพร่เป็นองค์ความรู้ให้กับประชาชนทั่วไป เพื่อเป็นแนวทางให้พี่น้องประชาชนที่สนใจ ได้นำผลิตภัณฑ์ไปพัฒนาสร้างรายได้ให้กับครัวเรือน โดยโครงการดังกล่าว นายรณชัย จิตรวิเศษ รองผู้ว่าราชการจังหวัดกาญจนบุรี เป็นประธานในการเปิดโครงการจังหวัดเคลื่อนที่และโครงการคลินิกมหาดไทยประจำปีงบประมาณ 2560 ณ ลานชมวิว เทศบาลตำบลท่าม่วง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เพื่อนำงานบริการต่าง ๆ ออกไปให้บริการประชาชนและเพื่อรับทราบปัญหาความเดือดร้อน และความต้องการที่แท้จริงของประชาชนในพื้นที่ห่างไกล เพื่อให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ให้ความช่วยเหลือ
Image อบรมการตรวจวิเคราะห์ดิน และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ครั้งที่ 7 บ้านหนองไผ่
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์(การทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง)และการตรวจธาตุอาหารในดินเบื้องต้น ให้กับประชาชนตำบลหนองไผ่ อำเภอด่านมะขามเตี้ย จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 2560 เวลา09.00 น. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้ดำเนินกิจกรรมโครงการ Research For Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ในกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ โดย ผศ.ดร.นงนุช สังข์อยุทธ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ การจัดกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ ได้รับเกียรติจากผู้ใหญ่ และ กำนัน กล่าวต้อนรับและแสดงความชื่นชมยินดีในความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล กับชุมชน ที่จะร่วมมือกันแก้ไขปัญญาให้กับชุมชน โดยเนื้อหาการอบรมจะมุ่งเน้นเชิงปฎิบัติการ การทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้กลับไปปฎิบัติได้ทุกขั้นตอน รวมทั้ง การให้ความรู้ในการตรวจวิเคราะห์ดินเบื้องต้น ซึ่งประชาชนนำดินมาตรวจวิเคราะห์ เพื่อทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ และปัญหาของดินในแปลงปลูกพืช โดยมีวิทยากรคอยให้คำปรึกษา คำแนะนำ ในการแก้ไขปรับปรุงบำรุงดิน เช่น การใช้ปุ๋ย การใช้ปูน ปรับปรุงดินกรด รวมทั้งการใช้วัสดุหรือสารปรับปรุงดินอย่างอื่น ตามความจำเป็นเพื่อให้การปลูกพืชได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น และมีคุณภาพดีขึ้น กิจกรรมดังกล่าว มีคณาจารย์ และบุคลากรงานบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ร่วมให้บริการวิชาการ ถ่ายทอด องค์ความรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนพร้อมผลักดันให้เกิดการสร้างเครือข่ายการบริการวิชาการแก่ชุมชน อันนำไปสู่การบูรณาการองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักวิชาการอย่างยั่งยืน
Image อบรมการตรวจวิเคราะห์ดิน และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ครั้งที่ 6 อบต.สิงห์
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์(การทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง)และการตรวจธาตุอาหารในดินเบื้องต้น ให้กับประชาชนตำบลสิงห์ อำเภอไทรโยค จังหวัดกาญจนบุรี เมื่อวันที่ 15 มีนาคม 2560 เวลา09.00 น. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้ดำเนินกิจกรรมโครงการ Research For Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ในกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ โดย ผศ.ดร.นงนุช สังข์อยุทธ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ การจัดกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ ได้รับเกียรติจากนายกองค์การบริหารส่วนตำบลสิงห์ และปลัด อบต.สิงห์ กล่าวต้อนรับและแสดงความชื่นชมยินดีในความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล กับชุมชน ที่จะร่วมมือกันแก้ไขปัญญาให้กับชุมชน โดยเนื้อหาการอบรมจะมุ่งเน้นเชิงปฎิบัติการ การทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้กลับไปปฎิบัติได้ทุกขั้นตอน รวมทั้ง การให้ความรู้ในการตรวจวิเคราะห์ดินเบื้องต้น ซึ่งประชาชนนำดินมาตรวจวิเคราะห์ เพื่อทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ และปัญหาของดินในแปลงปลูกพืช โดยมีวิทยากรคอยให้คำปรึกษา คำแนะนำ ในการแก้ไขปรับปรุงบำรุงดิน เช่น การใช้ปุ๋ย การใช้ปูน ปรับปรุงดินกรด รวมทั้งการใช้วัสดุหรือสารปรับปรุงดินอย่างอื่น ตามความจำเป็นเพื่อให้การปลูกพืชได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น และมีคุณภาพดีขึ้น กิจกรรมดังกล่าว มีคณาจารย์ พร้อมด้วยบุคลากรงานบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ร่วมให้บริการวิชาการ ถ่ายทอด องค์ความรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนพร้อมผลักดันให้เกิดการสร้างเครือข่ายการบริการวิชาการแก่ชุมชน อันนำไปสู่การบูรณาการองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักวิชาการอย่างยั่งยืน
Image ประชุมหารือเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินกิจกรรมโครงการผลิตก๊าซชีวภาพฯ จังหวัดชัยนาท
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้เข้าร่วมประชุมหารือเพื่อเตรียมความพร้อมในการดำเนินกิจกรรมโครงการผลิตก๊าซชีวภาพฯ จังหวัดชัยนาท ร่วมกับสำนักงานปฎิรูปที่ดินจังหวัดชัยนาทและศูนย์ประสานงานภาคกลาง สำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ในวันที่ 22 มีนาคม 2560 ณ พื้นที่ปฎิรูปที่ดิน หมู่ 13 ตำบลดงคอน อำเภอสรรคบุรี จังหวัดชัยนาท
Image ค่ายเสริมทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ ชีววิทยาเชิงอนุรักษ์และธรณีศาสตร์โรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์
เมื่อ วันที่ 23-26 มีนาคม 2560 มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ร่วมกับโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ ร่วมกันจัดกิจกรรมค่ายเสริมทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ ให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาโรงเรียนยอแซฟอุปถัมภ์ จำนวน 171 คน โดย มีกิจกรรม เสริมทักษะ ด้านชีววิทยาเชิงอนุรักษ์และธรณีศาสตร์ กิจกรรมที่สร้างสรรค์ให้นักเรียนมีกระบวนการคิด ผ่านกระบวนการทดลองในรูปแบบที่หลากหลาย พร้อมกับนำนักเรียน ศึกษาเรียนรู้ ในพิพิธภัณฑ์ธรณีศาสตร์ และชีววิทยา ในมหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี และทัศนศึกษา ในสถานที่ท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ของจังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งจะเป็นการสนับสนุนและส่งเสริมให้นักเรียนที่เข้าร่วมกิจกรรมได้พัฒนาความคิดสร้างสรรค์ ทักษะและกระบวนการทางความรู้ทางวิทยาศาสตร์ เพิ่มมากขึ้น
Image อบรมการผลิตก๊าซชีวภาพเป็นแหล่งพลังงานทดแทนสำหรับครัวเรือนครั้งที่ 3
เมื่อวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 10.00 น. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้ดำเนินกิจกรรมโครงการ Research For Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ในกิจกรรม “ การผลิตก๊าซชีวภาพเป็นแหล่งพลังงานทดแทนสำหรับครัวเรือนในชุมชน ครั้งที่ 3 “ ณ จุดเรียนรู้บ้านหนองปลิง ตำบลหนองปลิง อำเภอเลาขวัญ จังหวัดกาญจนุบรี โดย ดร.วีรวุฒิ ชัยวัฒน์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมและการจัดการภัยพิบัติ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ โดยเนื้อหาการอบรมจะมุ่งเน้นเชิงปฎิบัติการ การผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อเป็นแหล่งพลังงานทดแทน เพื่อเป็นการลดมลภาวะและกำจัดขยะอินทรีย์ อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายต่อครัวเรือนได้อีกด้วย กิจกรรมดังกล่าว มีคณาจารย์ พร้อมด้วยบุคลากรงานบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ร่วมให้บริการวิชาการ ถ่ายทอด องค์ความรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนพร้อมผลักดันให้เกิดการสร้างเครือข่ายการบริการวิชาการแก่ชุมชน อันนำไปสู่การบูรณาการองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักวิชาการอย่างยั่งยืน
Image อบรมการผลิตก๊าซชีวภาพเป็นแหล่งพลังงานทดแทนสำหรับครัวเรือนครั้งที่ 2
เมื่อวันที่ 24 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 10.00 น. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้ดำเนินกิจกรรมโครงการ Research For Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ในกิจกรรม “ การผลิตก๊าซชีวภาพเป็นแหล่งพลังงานทดแทนสำหรับครัวเรือนในชุมชน ครั้งที่ 2 “ ณ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี โดย ดร.วีรวุฒิ ชัยวัฒน์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมและการจัดการภัยพิบัติ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ โดยเนื้อหาการอบรมจะมุ่งเน้นเชิงปฎิบัติการ การผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อเป็นแหล่งพลังงานทดแทน เพื่อเป็นการลดมลภาวะและกำจัดขยะอินทรีย์ อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายต่อครัวเรือนได้อีกด้วย กิจกรรมดังกล่าว มีคณาจารย์ พร้อมด้วยนักศึกษาสาขาวิชาวิทยาศาสตร์การเกษตร และบุคลากรงานบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ร่วมให้บริการวิชาการ ถ่ายทอด องค์ความรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนพร้อมผลักดันให้เกิดการสร้างเครือข่ายการบริการวิชาการแก่ชุมชน อันนำไปสู่การบูรณาการองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักวิชาการอย่างยั่งยืน
Image อบรมการผลิตก๊าซชีวภาพเป็นแหล่งพลังงานทดแทนสำหรับครัวเรือนครั้งที่ 1
เมื่อวันที่ 21 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา 09.00 น. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้ดำเนินกิจกรรมโครงการ Research For Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ในกิจกรรม “ การผลิตก๊าซชีวภาพเป็นแหล่งพลังงานทดแทนสำหรับครัวเรือนในชุมชน ครั้งที่ 1 ณ องค์การบริหารส่วนตำบลท่าเสา อ.ไทรโยค จ.กาญจนบุรี “โดย ดร.วีรวุฒิ ชัยวัฒน์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิศวกรรมและการจัดการภัยพิบัติ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ และได้รับเกียรติจาก นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าเสา กล่าวต้อนรับและแสดงความชื่นชมยินดีในความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล กับชุมชน ที่จะร่วมมือกันแก้ไขปัญญาให้กับชุมชน โดยเนื้อหาการอบรมจะมุ่งเน้นเชิงปฎิบัติการ การผลิตก๊าซชีวภาพเพื่อเป็นแหล่งพลังงานทดแทน เพื่อเป็นการลดมลภาวะและกำจัดขยะอินทรีย์ อีกทั้งยังช่วยลดค่าใช้จ่ายต่อครัวเรือนได้อีกด้วย กิจกรรมดังกล่าว มีคณาจารย์ พร้อมด้วยบุคลากรงานบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ร่วมให้บริการวิชาการ ถ่ายทอด องค์ความรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนพร้อมผลักดันให้เกิดการสร้างเครือข่ายการบริการวิชาการแก่ชุมชน อันนำไปสู่การบูรณาการองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักวิชาการอย่างยั่งยืน
Image อบรมการตรวจวิเคราะห์ดิน และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ครั้งที่ 5 บ้านสาลี
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์(การทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง)และการตรวจธาตุอาหารในดินเบื้องต้น ให้กับประชาชนตำบลสาลี อำเภอบางปลาม้า จังหวัดสุพรรณบุรี เมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา09.00 น. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้ดำเนินกิจกรรมโครงการ Research For Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ในกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ โดย ผศ.ดร.นงนุช สังข์อยุทธ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ การจัดกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ ได้รับเกียรติจากผู้ใหญ่ และ กำนัน กล่าวต้อนรับและแสดงความชื่นชมยินดีในความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยมหิดล กับชุมชน ที่จะร่วมมือกันแก้ไขปัญญาให้กับชุมชน โดยเนื้อหาการอบรมจะมุ่งเน้นเชิงปฎิบัติการ การทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้กลับไปปฎิบัติได้ทุกขั้นตอน รวมทั้ง การให้ความรู้ในการตรวจวิเคราะห์ดินเบื้องต้น ซึ่งประชาชนนำดินมาตรวจวิเคราะห์ เพื่อทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ และปัญหาของดินในแปลงปลูกพืช โดยมีวิทยากรคอยให้คำปรึกษา คำแนะนำ ในการแก้ไขปรับปรุงบำรุงดิน เช่น การใช้ปุ๋ย การใช้ปูน ปรับปรุงดินกรด รวมทั้งการใช้วัสดุหรือสารปรับปรุงดินอย่างอื่น ตามความจำเป็นเพื่อให้การปลูกพืชได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น และมีคุณภาพดีขึ้น กิจกรรมดังกล่าว มีคณาจารย์ นักศึกษาปริญญาโท พร้อมด้วยบุคลากรงานบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ร่วมให้บริการวิชาการ ถ่ายทอด องค์ความรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนพร้อมผลักดันให้เกิดการสร้างเครือข่ายการบริการวิชาการแก่ชุมชน อันนำไปสู่การบูรณาการองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักวิชาการอย่างยั่งยืน
Image อบรมการตรวจวิเคราะห์ดิน และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ครั้งที่ 4 บ้านปากนาสวน
มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์(การทำปุ๋ยหมักแบบไม่พลิกกลับกอง)และการตรวจธาตุอาหารในดินเบื้องต้น ให้กับประชาชนบ้านปากนาสวน อำเภอศรีสวัสดิ์ กาญจนบุรี เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2560 เวลา09.00 น. มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ได้ดำเนินกิจกรรมโครงการ Research For Community วิจัยเพื่อชุมชนสังคม ในกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ โดย ผศ.ดร.นงนุช สังข์อยุทธ์ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวิทยาศาสตร์และศิลปศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เป็นวิทยากรในการถ่ายทอดความรู้ การจัดกิจกรรม “ การตรวจวิเคราะห์คุณภาพของดินและการทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง “ โดยได้รับความร่วมมือจาก สำนักงานเกษตรตำบลนาสวน ผู้นำชุมชน กำนัน ที่พร้อมและจะร่วมมือกันแก้ไขปัญญาให้กับชุมชน โดยเนื้อหาการอบรมจะมุ่งเน้นเชิงปฎิบัติการ การทำปุ๋ยอินทรีย์แบบไม่พลิกกลับกอง เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรม สามารถนำความรู้กลับไปปฎิบัติได้ทุกขั้นตอน รวมทั้ง การให้ความรู้ในการตรวจวิเคราะห์ดินเบื้องต้น ซึ่งประชาชนนำดินมาตรวจวิเคราะห์ เพื่อทราบถึงความอุดมสมบูรณ์ และปัญหาของดินในแปลงปลูกพืช โดยมีวิทยากรคอยให้คำปรึกษา คำแนะนำ ในการแก้ไขปรับปรุงบำรุงดิน เช่น การใช้ปุ๋ย การใช้ปูน ปรับปรุงดินกรด รวมทั้งการใช้วัสดุหรือสารปรับปรุงดินอย่างอื่น ตามความจำเป็นเพื่อให้การปลูกพืชได้ผลผลิตเพิ่มมากขึ้น และมีคุณภาพดีขึ้น กิจกรรมดังกล่าว มีคณาจารย์ พร้อมด้วยบุคลากรงานบริหารงานวิจัยและบริการวิชาการ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี ร่วมให้บริการวิชาการ ถ่ายทอด องค์ความรู้ ที่สามารถแก้ไขปัญหาให้กับชุมชนพร้อมผลักดันให้เกิดการสร้างเครือข่ายการบริการวิชาการแก่ชุมชน อันนำไปสู่การบูรณาการองค์ความรู้แห่งภูมิปัญญาท้องถิ่นตามหลักวิชาการอย่างยั่งยืน

ปี 2559

ปี 2558

ปี 2557

ปี 2556

ปี 2555

ปี 2554

ปี 2553